วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4


วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555


การเรียนการสอน
- อาจารย์ให้นำเสนอ mind mapping ของแต่ละกลุ่มและให้นำไปแก้ไข

- อาจารย์แนะนำวิธีการการเขียน mind mapping  ที่ถูกต้องและการแยกส่วนย่อยของส่วนประกอบของ mind mapping- อาจารย์ให้นำเสนอกิจกรรมเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ 12 ข้อ



*งานที่ได้รับมอบหมาย*

- ให้แก้ไข  map ให้สมบูรณ์- แบ่งสมาชิกในกลุ่มให้รับผิดชอบคนละ1วัน- ให้แต่ละคนเขียนสิ่งที่จะสอนในแต่ละวันและบอกว่าในแต่ละหัวข้อใช้เนื้อหาทางคณิตศาสตร์อะไรบ้าง

วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันอังคาร ที่ 20 พฤษจิกายน 2555

การเรียนการสอน
- อาจารย์ให้ส่งงานที่สั่ง
- การเลือกหน่วย หลัก ทฤษฏีต่างๆ
- การจัดหมวดหมู่ การจัดตามเกณฑ์ ประเภท ของสิ่งต่างๆ
- การเปรียบเทียบองค์ประกอบ
- หลักการตั้งหน่วย
1. สิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
2. สิ่งที่มีผลกระทบ
- อาจารย์ให้ปรับปรุงหน่วยการสอน
- ขอบข่ายของคณิตศาสตร์เนื้อหาหรือทักษะ( นิตยา ประพฤติกิต. 2541 : 17-19 )
1. การนับ แทนที่ลำดับ
2. ตัวเลข สัณลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ค่า จำนวน
3. การจับคู่ ความเหมือน
4. การจัดประเภท เกณฑ์ สำหรับเด็กควรตั้งเกณฑ์เพียง 1 เกณฑ์
5. การเปรียบเทียบ หนักกว่า เบากว่า
6. การจัดลำดับ การเรียงลำดับ
7. รูปทรงและเนื้อที่ ปริมาท ลึก หนา กว้าง หนา
8. การวัด การตวง การหาค่า
9. เซต การจัดกลุ่ม มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน
10. เศษส่วน การแบ่ง เช่นการแบ่งขนม
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย การทำตามแบบ ข้อตกลงร่วมกัน
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ การคงที่ของปริมาณกับวัตถุ เช่นการเทน้ำใส่แก้ว เด็กจะตอบตามที่ตาเห็น
- ( เยาวพา เดชะคุปต์ )
- การจักกลุ่มหรือเซต การจัดกลุ่มความสัมพันธ์ระหว่างเซต การเชื่อมโยง การรวม
- สถิติและกราฟ ใช้ระยะทางมาก ใช้เวลาน้อย
- อาจารย์ให้ช่วยกันแต่งประโยคเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมาย
- ให้กลับไปแก้ไขเพิ่มเติมหน่วยการสอน

วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2

วัน อังคาร ที่ 13 พฤษจิกายน 2555

 การเรียนการสอน
- อาจารย์แจกกระดาษให้วาดรูปอะไรก็ได้คนละ 1 รูป แล้วนำไปติดบนกระดานว่าใครมาก่อนมาหลังหรือมาเที่ยงตรง
- อาจารย์พูดถึง ลำดับ เวลา ก่อนหลัง
- การจัดหมวดหมู่ต้องมีเกณฑ์ในการจัด
- การบรูรณาการคณิตศาสตร์เชื่อมโยงกับภาษา
- เรื่องจำนวน การนับ
- ความหมายของจำนวน การนับ การเพิ่มจำนวน
- การแทนค่าจำนวนด้วยตัวเลข ฮินดูอาราบิก เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องของตัวเลข
- การเปรียบเทียบการมาก่อน มาหลัง มากว่า น้อยกว่า มากที่สุด มากกว่าหลังเที่ยงแต่น้อยกว่าก่อนเที่ยง น้อยที่สุด
- การนำคณตศาสตร์ไปใช้ในกิจวัตรประจำวันของเด็ก
- การแบ่งกลุ่มสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต
- คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการบรูณาการ
1. กิจกรรมกลางแจ้ง
2. กิจกรรมเสรี
3. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
4. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
5. กิจกรรมเสริมประสบการณ์
6. เกมการศึกษา
- เพลง เกี่ยวกับ ทิศทาง ตำแหน่ง
- สื่อ เพลง เป็นการบรูณษการเข้าสู่คณิตศาสตร์
- การแต่งเพลงต้องรู้จุดประสงค์กับเรื่องที่ต้องการให้เด็กรู้ก่อน
- การเปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลง การสังเกตุ
- อาจารย์ให้เขียน สิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้
- ประเภทของเกม
1. เกมแบบผลัด
2. เกมเบล็ตเล็ต

วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วัน อังคาร ที่ 6 พฤษจิกายน 2555

การเรียนการสอน

- อาจารย์แนะนำการปฎิบัติตนในการเรียน
- อาจารย์แจกกระดาษให้คนละ 1 แผ่น ให้นักศึกษาเขียนคำตอบ
1. การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2. สิ่งที่ต้องการจะรู้จากวิชานี้
- อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับรายวิชาว่าเกี่ยวกับอะไรและสอนเรื่องพัฒนาการและทฤษฏีต่างๆพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงของเด็ก
- อาจารย์บอกข้อตกลงในการส่งงานและเขียนบล๊อกเกอร์และบอกข้อตกลงในการเข้าชั้นเรียน การแต่งกายที่ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย